เเบบทดสอบหลังเรียน2

http://quickr.me/4waUWET

การปกครองสมัยอยุธยา


การปกครองสมัยอยุธยา
การ เมืองการปกครองของราชอาณาจักรอยุธยาถูกปกครองด้วยสถาบันพระมหากษัตริย์ เเบบเทวราชา ได้รับอิทธิพลจากศาสนาพราหม์-ฮินดู โดยผ่านมาทางขอม ในส่วนภูมิภาคเเบ่งเป็นหัวเมืองชั้นใน เมืองพระนคร เเละเมืองประเทศราช ดำรงความเป็นเอกราชได้ 417 ปี
ลักษณะการปกครองของอยุธยา
1. สถาบันพระมหากษัตริย์ ปกครองเเบบสมบูรณาญาสิทธิราช ด้วยลัทธิเทวราช คือ พระมหากษัตริย์ เปรียบเหมือนเทพเจ้า มีอำนาจสูงสุดในการปกครองเเผ่นดิน มีอำนาจสิทธิขาดทุกอย่าง อำนาจสูงสุดอยู่ภายใต้ขอบข่ายเเหลักธรรมทางพระพุทธศาสนา เช่น ทศพิธราชธรรม จักรวรรดิวัตร เเละพระราชจรรยานุวัตร
2. การปกครองของอยุธยาตอนต้น เเบ่งได้ดังนี้ คือ
2.1 การปกครองส่วนกลาง เรียกว่า จตุสดมภ์ เเบ่งเป็น
1. กรมเวียง มีขุนเมืองเป็นผู้ดูเเลความสงบเรียบร้อยของราษฎร
2. กรมวัง มีขุนวังเป็นผู้ดูเเลเกี่นวกับงานพระราชพิธีต่างๆ ในสำนัก เเละพิจารณาคดีความต่างๆ
3. กรมคลัง มีขุนคลังเป็นผู้ดูเเลเก็บรักษาผลประโยชน์ของเเผ่นดิน เเละเก็บภาษีอากรเเละติดต่อกับต่าประเทศ
4. กรมนา มีขุนนาเป็นผู้ดูเเลการทำไรนา จัดเก็บเสบียงอาหารสำหรับพระนคร
2.2 การปกครองส่วนภูมิภาค เเบ่งเป็น 3 ประเภท คือ
1. หัวเมืองชั้นใน อยู่รอบกรุงศรีอยุธยา อยู่ในฐานะเมืองลูกหลวงห่างราชธานี เดินทาง 2 วัน มีป้อมปราการสำหรับป้องกัน
2. หัวเมืองชั้นนอก คือ เมืองใหญ่ที่อยู่ถัดหัวเมืองชั้นใน
3. เมืองประเทศราช เป็นเมืองที่มีอิสระในการปกครองเเต่ต้องส่งเครื่องราชบรรณราการ

3. การปฏิรูปการปกครองในสมัยของสมเด้จพระบรมไตรโลกนาถ
เป็นการร่วมศูนย์กลางเเละได้มีการปฏิรูปการปกครองครั้งสำคัญเพื่อให้เหมาะกับสภาพอาณาจักร ได้เเก่
1. การปกครองส่วนกลาง เเบ่งเป็น
- ฝ่ายทหาร มีสมุหกลาโหมเป็นผู้ดูเเล
- ฝ่ายพลเรือน มีสมุหนายกเป็นผู้ดูเเล
2. การปกครองส่วนภูมิภาค เเบ่งตามระบบการปกครองเเบบจตุสดมภ์ ได้เเก่
- หัวเมืองชั้นใน
- หัวเมืองชั้นนอก
- หัวเมืองประเทศราช
ระบบการกฏหมายกรุงศรีอยุธยาตอนต้น มาจากพระมนูธรรมศาสตร์ของอินเดีย เเละพิจารณาพิพาทษาคดี ด้วยบุคคล 2 ประเภท
- ลูกขุน ณ ศาลหลวง
- ตุหลาการ
สมัยของสมเด็จพระรามาธิบดีที่ 2 ถึงสิ้นกรุงศรีอยุธยา
ได้จัดระบบการปกครองใหม่เพื่อเป็นการถ่วงดุลอำนาจ ในรัชสมัยของสมเด้จพระเพทราชา กล่าวคือ
1. สมุหกลาโหม เปลี่ยนการดูเเลบังคับบัญชาทั้งทหารเเละพลเรือนในฝ่ายใต้
2. สมุหนายก เปลี่ยนการควบคุมดูเเลบังคับบัญชาทั้งทหารเเละพลเรือนในหัวเมืองฝ่ายเหนือ
ในสมัยของสมเด็จพระรามาธิบดีที่ 2 มีการปรับปรุงทางด้านการทหารเพิ่มเติม ดังเช่น
- มีการเเต่งตำราพิชัยสงคราม
- การทำสารบาญชี
- การทำพิธีระดมพล

เเบบทดสอบหลังเรียน

http://quickr.me/JGzDYIY

ประวัติการปกครองสมัยสุโขทัย


ประวัติการปกครองสมัยสุโขทัย
อาณาจักรสุโขทัยเมื่อแรกตั้งเป็นอาณาจักรเล็กๆสมัยที่รุ่งเรืองที่สุดคือสมัยพ่อขุนรามคำแหง มหาราชมีอาณาเขตทิศเหนือจรดเมืองลำพูน ทิศตะวันออกเฉียงเหนือจรดเทือกเขาดงพญาเย็น และภูเขาพนมดงรักทิศตะวันตกจรดเมืองหงศาวดี ทางใต้จรดแหลมมลายู มีกษัตริย์ปกครองเป็นเอกราชติดต่อกันมา 6 พระองค์อาณาจักรสุโขทัย เสื่อมลงและตกเป็นเมืองขึ้นของกรุงศรีอยุธยาเมื่อสมัยพญาไสลือไท โดยทำสงครามปราชัยแก่ พระบรมราชาที่ 1 แห่งกรุงศรีอยุธยาในปีพ.ศ.1921 และราชวงศ์พระร่วงยังคงปกครองในฐานะประเทศราชติตต่อกันมาอีก 2 พระองค์ จนสิ้นราชวงศ์ พ.ศ.1981
ลักษณะการปกครองของสมัยสุโขทัย เป็นการปกครองแบบบิดาปกครองบุตรหรือการปกครองคนในครอบครัว (Paternalism) คือพระมหากษัตริย์เป็นเสมือนพ่อหรือข้าราชการบริพารเปรียบเสมือนลูกหรือคนในครอบครัวทำการปกครองลดหลั่นกันไปตามลำดับ ศาสตราจารย์ James N. Mosel ได้ให้ความเห็นเกี่ยวกับการปกครองของไทยในสมัยกรุงสุโขทัยไว้ว่ามีลักษณะสำคัญ 2 ประการคือ มีลักษณะเป็นการปกครองแบบพ่อปกครองลูกกับการดำเนินการปกครองแบบหัวเมืองขึ้น มีลักษณะคล้ายเจ้าผู้ครองนครกับยังได้ย้ำว่า การปกครองแบบหัวเมือง หรือเจ้าผู้ครองของไทย แตกต่างกับระบบเจ้าผู้ครองนครของยุโรปอย่างไรก็ดี สำหรับการปกครองแบบบิดากับบุตรนี้ในปาฐกถาของ สมเด็จกรมพระยาดำรงราชานุภาพ เรื่องลักษณะการปกครองประเทศสยาม แต่โบราณได้อธิบายไว้ว่าวิธีการปกครองในสมัยสุโขทัยนั้น นับถือพระเจ้าแผ่นดินอย่างบิดาของประชาชนทั้งปวงวิธีการปกครองเอาลักษณะการปกครองสกุลมาเป็นคติ เป็นต้น บิดาปกครองครัวเรือนหลายครัวเรือนรวมกันเป็นบ้านอยู่ในปกครองของพ่อบ้าน ผู้อยู่ในปกครอง เรียกว่า ลูกบ้าน หลายบ้านรวมกันเป็นเมืองถ้าเป็นเมืองขึ้นอยู่ในความปกครองของพ่อเมือง ถ้าเป็นประเทศราชเจ้าเมืองเป็นขุนหลายเมืองรวมกันเป็นประเทศที่อยู่ในความปกครองของพ่อขุน ข้าราชการในตำแหน่งต่าง ๆ เรียกว่าลูกขุน วิธีการปกครองของไทยเป็นอย่างบิดาปกครองบุตรยังใช้หลักในการปกครองประเทศไทยมา จนเปลี่ยนแปลงการปกครอง คำว่าปกครองแบบพ่อปกครองลูกนี้มีความสำคัญและมีอิทธิพลต่อจิตใจของคนไทยเป็นอย่างยิ่ง พระเจ้าแผ่นดินสมัยสุโขทัยตอนต้น ประชาชนมักใช้คำแทนตัวท่านว่าพ่อขุน จนเมื่ออิทธิพลของขอมเข้ามาแทรกแซงก็ได้เปลี่ยนไปใช้คำว่าพระยาเสียทำให้ความสัมพันธ์ระหว่างประชาชนกับกษัตริย์ ซึ่งเดิมเปรียบเสมือนพ่อกับลูกได้กลายสภาพเป็นข้ากับเจ้าบ่าวกับนายไป
ลักษณะการปกครองมี 3 ส่วน ดังนี้
1.เขตการปกครองแบบราชธานี ( หัวเมืองชั้นใน ) คือ เมืองมีตัวเมืองที่ตั้งนครหลวงอันได้แก่กรุงสุโขทัยชั้นในรายรอบเป็นปริมณฑล 2.เขตการปกครองแบบพระยามหานคร ( หัวเมืองชั้นนอก ) คือ เมืองใหญ่ๆนอกราชธานี มีเมืองเล็กๆรายล้อม
3.เขตการปกครองแบบเมืองประเทศราช คือ เมืองที่อยู่นอกราชอาณาจักร ชาวเมืองเป็นชนต่างชาติ พระ
มหากษัตริย์ตั้งปกครองอย่างเด็ดขาด


Open Nooky Blog


Hi!! Welcome to Nooky blog ^^
เพื่อนเจ้าของบล๊อกคร้าฟ แวะมาสร้างบล๊อกให้เพื่อน แม่นล่ะ
Status:ขณะนี้เพื่อนเรามีเรื่องให้คิดมากมาย ปัจจุบันเปิดเทอมได้ 1 อาทิตย์แล้วล่ะ เพื่อนๆที่เคยอยู่ด้วยกันมาก่อนก็แยกย้ายไปเรียนห้องอื่น แต่ก็จะไม่มีอะไรที่ทำให้นุ๊กของเราลืมเพื่อนๆที่นุ๊ก "รัก" เด็ดขาด! เพราะเรามั่นใจว่านุ๊กรักเพื่อนๆทุกคน "มากๆๆๆๆ"
อิอิ^^ โล่ง
By Dew [best friend Nooky]
Ps.Nook สู้ๆนะ
http://quickr.me/4waUWET

การปกครองสมัยอยุธยา
การ เมืองการปกครองของราชอาณาจักรอยุธยาถูกปกครองด้วยสถาบันพระมหากษัตริย์ เเบบเทวราชา ได้รับอิทธิพลจากศาสนาพราหม์-ฮินดู โดยผ่านมาทางขอม ในส่วนภูมิภาคเเบ่งเป็นหัวเมืองชั้นใน เมืองพระนคร เเละเมืองประเทศราช ดำรงความเป็นเอกราชได้ 417 ปี
ลักษณะการปกครองของอยุธยา
1. สถาบันพระมหากษัตริย์ ปกครองเเบบสมบูรณาญาสิทธิราช ด้วยลัทธิเทวราช คือ พระมหากษัตริย์ เปรียบเหมือนเทพเจ้า มีอำนาจสูงสุดในการปกครองเเผ่นดิน มีอำนาจสิทธิขาดทุกอย่าง อำนาจสูงสุดอยู่ภายใต้ขอบข่ายเเหลักธรรมทางพระพุทธศาสนา เช่น ทศพิธราชธรรม จักรวรรดิวัตร เเละพระราชจรรยานุวัตร
2. การปกครองของอยุธยาตอนต้น เเบ่งได้ดังนี้ คือ
2.1 การปกครองส่วนกลาง เรียกว่า จตุสดมภ์ เเบ่งเป็น
1. กรมเวียง มีขุนเมืองเป็นผู้ดูเเลความสงบเรียบร้อยของราษฎร
2. กรมวัง มีขุนวังเป็นผู้ดูเเลเกี่นวกับงานพระราชพิธีต่างๆ ในสำนัก เเละพิจารณาคดีความต่างๆ
3. กรมคลัง มีขุนคลังเป็นผู้ดูเเลเก็บรักษาผลประโยชน์ของเเผ่นดิน เเละเก็บภาษีอากรเเละติดต่อกับต่าประเทศ
4. กรมนา มีขุนนาเป็นผู้ดูเเลการทำไรนา จัดเก็บเสบียงอาหารสำหรับพระนคร
2.2 การปกครองส่วนภูมิภาค เเบ่งเป็น 3 ประเภท คือ
1. หัวเมืองชั้นใน อยู่รอบกรุงศรีอยุธยา อยู่ในฐานะเมืองลูกหลวงห่างราชธานี เดินทาง 2 วัน มีป้อมปราการสำหรับป้องกัน
2. หัวเมืองชั้นนอก คือ เมืองใหญ่ที่อยู่ถัดหัวเมืองชั้นใน
3. เมืองประเทศราช เป็นเมืองที่มีอิสระในการปกครองเเต่ต้องส่งเครื่องราชบรรณราการ

3. การปฏิรูปการปกครองในสมัยของสมเด้จพระบรมไตรโลกนาถ
เป็นการร่วมศูนย์กลางเเละได้มีการปฏิรูปการปกครองครั้งสำคัญเพื่อให้เหมาะกับสภาพอาณาจักร ได้เเก่
1. การปกครองส่วนกลาง เเบ่งเป็น
- ฝ่ายทหาร มีสมุหกลาโหมเป็นผู้ดูเเล
- ฝ่ายพลเรือน มีสมุหนายกเป็นผู้ดูเเล
2. การปกครองส่วนภูมิภาค เเบ่งตามระบบการปกครองเเบบจตุสดมภ์ ได้เเก่
- หัวเมืองชั้นใน
- หัวเมืองชั้นนอก
- หัวเมืองประเทศราช
ระบบการกฏหมายกรุงศรีอยุธยาตอนต้น มาจากพระมนูธรรมศาสตร์ของอินเดีย เเละพิจารณาพิพาทษาคดี ด้วยบุคคล 2 ประเภท
- ลูกขุน ณ ศาลหลวง
- ตุหลาการ
สมัยของสมเด็จพระรามาธิบดีที่ 2 ถึงสิ้นกรุงศรีอยุธยา
ได้จัดระบบการปกครองใหม่เพื่อเป็นการถ่วงดุลอำนาจ ในรัชสมัยของสมเด้จพระเพทราชา กล่าวคือ
1. สมุหกลาโหม เปลี่ยนการดูเเลบังคับบัญชาทั้งทหารเเละพลเรือนในฝ่ายใต้
2. สมุหนายก เปลี่ยนการควบคุมดูเเลบังคับบัญชาทั้งทหารเเละพลเรือนในหัวเมืองฝ่ายเหนือ
ในสมัยของสมเด็จพระรามาธิบดีที่ 2 มีการปรับปรุงทางด้านการทหารเพิ่มเติม ดังเช่น
- มีการเเต่งตำราพิชัยสงคราม
- การทำสารบาญชี
- การทำพิธีระดมพล
http://quickr.me/JGzDYIY

ประวัติการปกครองสมัยสุโขทัย
อาณาจักรสุโขทัยเมื่อแรกตั้งเป็นอาณาจักรเล็กๆสมัยที่รุ่งเรืองที่สุดคือสมัยพ่อขุนรามคำแหง มหาราชมีอาณาเขตทิศเหนือจรดเมืองลำพูน ทิศตะวันออกเฉียงเหนือจรดเทือกเขาดงพญาเย็น และภูเขาพนมดงรักทิศตะวันตกจรดเมืองหงศาวดี ทางใต้จรดแหลมมลายู มีกษัตริย์ปกครองเป็นเอกราชติดต่อกันมา 6 พระองค์อาณาจักรสุโขทัย เสื่อมลงและตกเป็นเมืองขึ้นของกรุงศรีอยุธยาเมื่อสมัยพญาไสลือไท โดยทำสงครามปราชัยแก่ พระบรมราชาที่ 1 แห่งกรุงศรีอยุธยาในปีพ.ศ.1921 และราชวงศ์พระร่วงยังคงปกครองในฐานะประเทศราชติตต่อกันมาอีก 2 พระองค์ จนสิ้นราชวงศ์ พ.ศ.1981
ลักษณะการปกครองของสมัยสุโขทัย เป็นการปกครองแบบบิดาปกครองบุตรหรือการปกครองคนในครอบครัว (Paternalism) คือพระมหากษัตริย์เป็นเสมือนพ่อหรือข้าราชการบริพารเปรียบเสมือนลูกหรือคนในครอบครัวทำการปกครองลดหลั่นกันไปตามลำดับ ศาสตราจารย์ James N. Mosel ได้ให้ความเห็นเกี่ยวกับการปกครองของไทยในสมัยกรุงสุโขทัยไว้ว่ามีลักษณะสำคัญ 2 ประการคือ มีลักษณะเป็นการปกครองแบบพ่อปกครองลูกกับการดำเนินการปกครองแบบหัวเมืองขึ้น มีลักษณะคล้ายเจ้าผู้ครองนครกับยังได้ย้ำว่า การปกครองแบบหัวเมือง หรือเจ้าผู้ครองของไทย แตกต่างกับระบบเจ้าผู้ครองนครของยุโรปอย่างไรก็ดี สำหรับการปกครองแบบบิดากับบุตรนี้ในปาฐกถาของ สมเด็จกรมพระยาดำรงราชานุภาพ เรื่องลักษณะการปกครองประเทศสยาม แต่โบราณได้อธิบายไว้ว่าวิธีการปกครองในสมัยสุโขทัยนั้น นับถือพระเจ้าแผ่นดินอย่างบิดาของประชาชนทั้งปวงวิธีการปกครองเอาลักษณะการปกครองสกุลมาเป็นคติ เป็นต้น บิดาปกครองครัวเรือนหลายครัวเรือนรวมกันเป็นบ้านอยู่ในปกครองของพ่อบ้าน ผู้อยู่ในปกครอง เรียกว่า ลูกบ้าน หลายบ้านรวมกันเป็นเมืองถ้าเป็นเมืองขึ้นอยู่ในความปกครองของพ่อเมือง ถ้าเป็นประเทศราชเจ้าเมืองเป็นขุนหลายเมืองรวมกันเป็นประเทศที่อยู่ในความปกครองของพ่อขุน ข้าราชการในตำแหน่งต่าง ๆ เรียกว่าลูกขุน วิธีการปกครองของไทยเป็นอย่างบิดาปกครองบุตรยังใช้หลักในการปกครองประเทศไทยมา จนเปลี่ยนแปลงการปกครอง คำว่าปกครองแบบพ่อปกครองลูกนี้มีความสำคัญและมีอิทธิพลต่อจิตใจของคนไทยเป็นอย่างยิ่ง พระเจ้าแผ่นดินสมัยสุโขทัยตอนต้น ประชาชนมักใช้คำแทนตัวท่านว่าพ่อขุน จนเมื่ออิทธิพลของขอมเข้ามาแทรกแซงก็ได้เปลี่ยนไปใช้คำว่าพระยาเสียทำให้ความสัมพันธ์ระหว่างประชาชนกับกษัตริย์ ซึ่งเดิมเปรียบเสมือนพ่อกับลูกได้กลายสภาพเป็นข้ากับเจ้าบ่าวกับนายไป
ลักษณะการปกครองมี 3 ส่วน ดังนี้
1.เขตการปกครองแบบราชธานี ( หัวเมืองชั้นใน ) คือ เมืองมีตัวเมืองที่ตั้งนครหลวงอันได้แก่กรุงสุโขทัยชั้นในรายรอบเป็นปริมณฑล 2.เขตการปกครองแบบพระยามหานคร ( หัวเมืองชั้นนอก ) คือ เมืองใหญ่ๆนอกราชธานี มีเมืองเล็กๆรายล้อม
3.เขตการปกครองแบบเมืองประเทศราช คือ เมืองที่อยู่นอกราชอาณาจักร ชาวเมืองเป็นชนต่างชาติ พระ
มหากษัตริย์ตั้งปกครองอย่างเด็ดขาด



Hi!! Welcome to Nooky blog ^^
เพื่อนเจ้าของบล๊อกคร้าฟ แวะมาสร้างบล๊อกให้เพื่อน แม่นล่ะ
Status:ขณะนี้เพื่อนเรามีเรื่องให้คิดมากมาย ปัจจุบันเปิดเทอมได้ 1 อาทิตย์แล้วล่ะ เพื่อนๆที่เคยอยู่ด้วยกันมาก่อนก็แยกย้ายไปเรียนห้องอื่น แต่ก็จะไม่มีอะไรที่ทำให้นุ๊กของเราลืมเพื่อนๆที่นุ๊ก "รัก" เด็ดขาด! เพราะเรามั่นใจว่านุ๊กรักเพื่อนๆทุกคน "มากๆๆๆๆ"
อิอิ^^ โล่ง
By Dew [best friend Nooky]
Ps.Nook สู้ๆนะ